วันพุธที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2566

Seminar on Flood Risk Management during Crisis due to Climate Change by KMUTNB and DHI (June 2023)

 

 ศูนย์วิจัยวิศวกรรมน้ำและโครงสร้างพื้นฐาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 
ร่วมกับ จังหวัดนครสวรรค์ และ DHI A/S ประเทศเดนมาร์ก

ร่วมกันจัดงานสัมมนาทางวิชาการ
 
แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงสุดขั้วเพื่อระงับเหตุภาวะฉุกเฉินจากสถานการณ์ที่มีความผันผวนขั้นรุนแรงของสภาพภูมิอากาศ

โดยหัวข้อย่อยงานสัมมนาใน 3 วัน ดังนี้

วันที่ 28 มิ.ย. 2566 ณ ห้องชนกนันท์ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์
หัวข้อ “แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงสุดขั้วเพื่อระงับเหตุภาวะฉุกเฉินจากสถานการณ์
ที่มีความผันผวนขั้นรุนแรงของสภาพภูมิอากาศ”

วันที่ 29 มิ.ย. 2566 ณ ห้องชนกนันท์ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์
หัวข้อ “การพยากรณ์น้ำท่วมที่แม่นยำลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติเกี่ยวกับน้ำในประเทศไทยที่เกิด
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ”

วันที่ 30 มิ.ย. 2566 ณ ห้องน้ำเอก โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์
หัวข้อ “การฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรม MIKE+ เพื่อจำลองการเกิดน้ำท่วม 2 มิติ”


กิจกรรมในแต่ละวันมีรายละเอียดดังนี้

วันที่ 28 มิ.ย. 2566 ณ ห้องชนกนันท์ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์

09:30 – 09.45 น. กล่าวต้อนรับและเปิดงาน
โดย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

09.45 – 10.30 น. การบริหารจัดการศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ต่อภาวะฉุกเฉินสถานการณ์น้ำ
โดย นายชยันต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์

10.30 – 11.30 น. การบริหารนโยบายสู่ปฏิบัติการขั้นสุดเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
โดย ดร.ทองเปลว กองจันทร์ อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

11.30 – 12.30 น. เสวนาซักถาม ผู้ดำเนินรายการ คุณนิตยา กีรติเสริมสิน
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส Thai PBS

12.30 – 13.30 น. พักรับประทานอาหาร

13:30 – 14.30 น. การคาดการณ์น้ำล่วงหน้าเพื่อการบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินสถานการณ์น้ำ
โดย ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการน้ำ (link นำเสนอผลการพยากรณ์ เพื่อการวางแผนการจัดการน้ำระยะยาว)

14.30 – 15:30 น. การจัดการน้ำท่วมในประเทศไทย - ประสบการณ์ในอดีตและการมองไปยังอนาคตโดย
Mr. Oluf Jessen, รองประธานฝ่ายพัฒนาระหว่างประเทศ DHI A/S และ
Mr. Jakob Luchner ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบพยากรณ์น้ำท่วม (เอกสารบรรยาย)

15.30 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น



วันที่ 29 มิ.ย. 2566 ณ ห้องชนกนันท์ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์

09:00 - 09:30 น. ลงทะเบียน

09:30 – 09:40 น. กล่าวต้อนรับ แนะนำ DHI A/S โดย Dr. Jesper Dørge ผู้อำนวยการ DHI A/S

09:40 - 10:30 น. การบริหารจัดการน้ำที่รองรับกรณีน้ำท่วมน้ำแล้งในไทย โดย คุณเลิศพันธ์ สุขยิรัญ ผู้อำนวยการกองบริหารจัดการลุ่มน้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (เอกสารบรรยาย)

10:30 – 11:00 น. แนวคิดการใช้ข้อมูลจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลก (Earth Observation) เพื่อเสริมศักยภาพระบบพยากรณ์และเตือนภัยน้ำท่วม โดย คุณวาทิน ธนาธารพร นักวิจัย ฝ่ายนวัตกรรมสารสนเทศทรัพยากรน้ำ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) (เอกสารบรรยาย)

11:00 – 11:30 น. การใช้งานข้อมูลตรวจวัดน้ำแบบ real time ร่วมกับเครื่องมือการจัดการน้ำ ในสภาวะภัยพิบัติ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดย คุณเลอบุญ อุดมทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนประมวลวิเคราะห์สถานการณ์ กรมชลประทาน (เอกสารบรรยาย)

11:30 - 13:00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

13:00 – 13:30 น. แบบจำลอง MIKE Powered by DHI และ แบบจำลอง MIKE+ การสร้างแบบจำลองบูรณาการ 1 และ 2 มิติ เพื่อการจัดการน้ำท่วมโดย Pierre Hovelt ผู้จัดการฝ่ายขายแบบจำลอง MIKE Powered by DHI และ Thomas Telegdy ผู้เชี่ยวชาญผลิตภัณฑ์ แบบจำลอง MIKE+ ระดับโลก (VDO นำเสนอใน Youtube)

13:30 – 14:00 น. การใช้ข้อมูล Earth Observation เพื่อติดตามสถานะของแหล่งน้ำทั่วประเทศไทยและระบุพื้นที่เสี่ยงต่อน้ำท่วมและภัยแล้งโดย  Laura Comeau/Jakob Luchner, ผู้จัดการโครงการด้านทรัพยากรน้ำ DHI A/S (เอกสารบรรยาย)

14:00 – 14:30 น. ตัวอย่างเทคโนโลยีป้องกันน้ำท่วมในเมืองใหญ่ - อัพเดทระบบคาดการณ์น้ำท่วม SMART TUNNEL กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดย Katherine Brown หัวหน้าโครงการทรัพยากรน้ำ DHI มาเลเซีย (เอกสารบรรยาย)

14:30 – 15:00 น. ระบบพยากรณ์สมุทรศาสตร์สำหรับประเทศไทย – แบบจำลอง 3 มิติ ครอบคลุมทะเลอันดามันและอ่าวไทย โดย Juan Savioli หัวหน้าโครงการทะเลและชายฝั่ง DHI มาเลเซีย (เอกสารบรรยาย)

15:00 – 16:00 น. สรุปประเด็น ตอบข้อซักถาม และกล่าวขอบคุณโดย ดร. สมชาย ชนวัฒนา และ Dr. Jesper Dørge



วันที่ 30 มิ.ย. 2566 ณ ห้องน้ำเอก โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์

08:30 - 09:00 น. ลงทะเบียนฝึกอบรม แนะนำการติดตั้งโปรแกรมแบบจำลอง และลิขสิทธิ์ในการฝึกอบรม

09:00 – 16:00  น. ฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมแบบจำลองทางคณิตศาสตร์บูรณาการ 1 และ 2 มิติ สำหรับจำลองการเกิดน้ำท่วม MIKE+ 2D Overland flow (มีพักรับประทานอาหารว่างระหว่างการฝึกอบรมช่วงเช้า บ่าย และพักรับประทานอาหารกลางวัน)



การประชุมช่วงเช้าวันที่ 28 มิถุนายน
ถ่ายถอดสดผ่านทาง Youtube live ของ ThaiPBS

วราภรณ์ บูรณะอัตม์ แนะนำกำหนดการสัมมนา

ตัวอย่างภาพจากระบบ live ของ ThaiPBS
คุณนิตยา กีรติเสริมสิน

ดร. ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

Slide นำเสนอโดย ดร. ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง

นายชยันต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์

ดร.ทองเปลว กองจันทร์ อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ผู้เข้าร่วมประชุมจาก DHI

ผู้เข้าร่วมประชุมที่ รร เอบิน่า เฮ้าส์



รูปจากการบรรยายช่วงบ่ายวันที่ 28 มิย. 

บรรยายโดย ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง (รูปจาก Zoom)


บรรยายโดย Mr. Oluf Jessen, รองประธานฝ่ายพัฒนาโครงการระหว่างประเทศ DHI A/S 

บรรยายโดย Mr. Jakob Luchner ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบพยากรณ์น้ำท่วม




ภาพจากงานสัมมนาในวันที่ 29 มิย.

ภาพหมู่ผู้บรรยายในวันที่ 29 มิย.



วิทยากรรับเชิญจาก สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
คุณเลิศพันธ์ สุขยิรัญ ผู้อำนวยการกองบริหารจัดการลุ่มน้ำ



วิทยากรรับเชิญจาก สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน)
คุณวาทิน ธนาธารพร นักวิจัย ฝ่ายนวัตกรรมสารสนเทศทรัพยากรน้ำ



วิทยากรรับเชิญจาก กรมชลประทาน
คุณเลอบุญ อุดมทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนประมวลวิเคราะห์สถานการณ์

Thomas Telegdy ผู้เชี่ยวชาญผลิตภัณฑ์ แบบจำลอง MIKE+ ระดับโลก


Dr. Laura Comeau ผู้จัดการโครงการด้านทรัพยากรน้ำ DHI A/S

Katherine Brown หัวหน้าโครงการทรัพยากรน้ำ DHI มาเลเซีย

Dr. Juan Savioli หัวหน้าโครงการทะเลและชายฝั่ง DHI มาเลเซีย


ดำเนินการประชุมโดย นางสาว วราภรณ์ บูรณะอัตม์ และ
สรุปการบรรยายภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยโดย ดร. สมชาย ชนวัฒนา



การฝึกอบรมวันที่ 30 มิย.
การฝึกอบรมวันที่ 30 ได้ทำ Blog แยกต่างหากไว้ที่ link นี้ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถ
ติดตามการอบรมได้สะดวก

โดยมีภาพบางส่วนจากในวันฝึกอบรม


ด้านล่างช่วงการฝึกอบรม




ภาพผู้ได้รับรางวัลจากการจับฉลากเมื่อจบการอบรมในวัน